วันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2557


ข้อมูลศิลปิน


ชื่อ :
เดชา วราชุน
เกิด :
6 พฤศจิกายน 2488 กรุงเทพฯ
ที่อยู่ :
197 ซอยรัชดาภิเษก 10 ถนนรัชดาภิเษก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320
โทร :
0-2246-3269
เว็บไซต์ :
www.rama9art.org/decha
การศึกษา :
- ปริญญาตรี (ศ.บ. ภาพพิมพ์) เกียรตินิยมอันดับ 2 คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
- ปริญญาโท (ศ.ม. ภาพพิมพ์) คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
นิทรรศการเดี่ยว :
2546 - นิทรรศการศิลปกรรมย้อนหลัง 2511-2545 หอศิลปแห่งชาติ กรุงเทพฯ
นิทรรศการกลุ่ม :
2507 - การแสดงศิลปกรรมประจำปี โรงเรียนเพาะช่าง กรุงเทพฯ
2508 - การแสดงศิลปกรรมกลุ่ม สถาบันสอนภาษา เอ.ยู.เอ กรุงเทพฯ
2510 - การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 17 หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี กรุงเทพฯ
2511 - การแสดงศิลปกรรมของศิลปินร่วมสมัย ตึกนายเลิศ กรุงเทพฯ
2512 - การแสดงศิลปกรรมนานาชาติ ครั้งที่ 10 เซาเปาโล บราซิล
- การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 18 หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี กรุงเทพฯ
2513 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติแห่งเอเชีย สถาบันแพทอินสติติว นิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา
2514 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 9 ยูโกสลาเวีย
- การแสดงศิลปกรรมนานาชาติ ครั้งที่ 3 เซาเปาโล บราซิล
2515 - การแสดงศิลปวาดเส้นนานาชาติ ครั้งที่ 11 เซาเปาโล บราซิล
- การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 1 นอร์เวย์
- การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัย ของศิลปินไทย ครั้งที่ 2 โคเปนเฮเกน เดนมาร์ก
2516 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 10 ยูโกสลาเวีย
- การแสดงศิลปกรรมนานาชาติ ครั้งที่ 12 เซาเปาโล บราซิล
2517 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 2 นอร์เวย์
- การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 3 เยอรมนี
- การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 4 ฟลอเรนซ์ อิตาลี
2518 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 11 ยูโกสลาเวีย
2519 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 3 นอร์เวย์
- การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 4 เยอรมนี
2520 - การแสดงศิลปกรรมของกลุ่มศิลปากร 20 ครั้งที่ 1 เซ็นทรัล ชิดลม กรุงเทพฯ
- นิทรรศการศิลปะไทยร่วมสมัย ทิสโก้
- การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 12 ยูโกสลาเวีย
2521 - การแสดงศิลปวาดเส้นนานาชาติ คริสเซิต นิวซีแลนด์
- การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยนานาชาติแห่งเอเซีย สิงคโปร์
- การแสดงศิลปกรรมของกลุ่มศิลปากร 20 ครั้งที่ 2
2522 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 13 ยูโกสลาเวีย
2523 - การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยนานาชาติแห่งเอเซีย สิงคโปร์
- การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยนานาชาติแห่งเอเซีย ฟูกุโอกะ ญี่ปุ่น
2524 - การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยนานาชาติแห่งเอเซีย บังคลาเทศ
2525 - นิทรรศการศิลปกรรมไทยร่วมสมัย พิพิธภัณฑ์แปซิฟิก แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
2526 - นิทรรศการศิลปกรรมไทยร่วมสมัย เมโมเรียลอาร์ต แกลเลอรี่ นิวยอร์ค สหัรัฐอเมริกา
2527 - งานกระดาษ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
2528 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 15 ยูโกสลาเวีย
- การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยอาเซียน มาเลเซีย
2529 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์ร่วมสมัยของไทย เยอรมนี
2530 - การแสดงศิลปภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 17 ยูโกสลาเวีย
2531 - ศิลปร่วมสมัยจากประเทศไทย พิพิธภัณฑ์แปซิฟิกเอเซีย พาซาดีน่า สหรัฐอเมริกา
2532 - การแสดงศิลปกรรมนานาชาติครั้งที่ 9 Valparaiso ชิลี
2533 - นิทรรศการศิลปะ วินิรุจแกลเลอรี่ - ศิลปศึกษา - ช่างศิลป์ 33 โรงแรมมณเฑียร กรุงเทพฯ
2535 - นิทรรศการจิตรกรรม-ประติมากรรม 50 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย
2536 - การแสดงศิลปะกลุ่มกากบาทศิลปะ ไดอะล็อก แกลเลอรี่ กรุงเทพฯ
2538 - การแสดงสีน้ำอาเซียน ครั้งที่ 10 หอศิลปแห่งชาติ กรุงเทพฯ
2539 - นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ศิลปะแห่งรัชกาลที่ ๙ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิต์ กรุงเทพฯ
2540 - มหกรรมนิทรรศการศิลปะ สถานกงสุลใหญ่ นครลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา
2541 - การแสดงศิลปกรรมนานาชาติ ครั้งที่ 5 กรุงโซล เกาหลี
2542 - นิทรรศการศิลปกรรม ศิลปากรเฉลิมพระเกียรติ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
2543 - ศิลปกรรมไทย 2000 หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หอศิลป์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา และหอศิลป์ เมืองโคโลญจน์ เยอรมนี
2544 - สืบสานวัฒนธรรม สุโขทัยสู่สหัสวรรษ 2001 ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
2545 - นิทรรศการศิลปะนามธรรม ; สารัตถะแห่งศิลป์ สุรพลแกลเลอรี่ กรุงเทพฯ
รางวัล/เกียรติยศ :
2512 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงินประเภท ภาพพิมพ์ ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 19
2514 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทองประเภท ภาพพิมพ์ ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 20
2515 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงินประเภท ภาพพิมพ์ ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 21
2517 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงินประเภท ภาพพิมพ์ ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 22
2520 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงินประเภท ภาพพิมพ์ ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 24
2522 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงินประเภท ภาพพิมพ์ ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 25
2523 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง ประเภท ภาพพิมพ์ ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 26
2524 - รางวัลชนะเลิศ ศิลปกรรม การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัย
2525 - รางวัลชนะเลิศ ศิลปกรรม การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัย
- รางวัลยอดเยี่ยม ศิลปกรรมไทยร่วมสมัย นิทรรศการศิลปกรรม ธนาคารแห่งประเทศไทย
- รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง (ภาพพิมพ์) ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 28
- ศิลปินชั้นเยี่ยม (ภาพพิมพ์) การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน และ ศ. เดชา วราชุน
        สองเพื่อนร่วมรุ่นมหาวิทยาลัยศิลปากร อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) ปี 2549 และ ศ.เดชา วราชุน ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์(ภาพพิมพ์และสื่อผสม) ปี 2551ร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาส 82 พรรษา ด้วยการจับคู่แสดงผลงานศิลปะ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า และจะมีงานเปิดนิทรรศการในวันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ.2553 เวลา 18.00 น.ที่จะถึงนี้
      
       ผลงานของ อ.นนทิวรรธน์ ที่จะนำมาจัดแสดงเป็นผลงานประติมากรรม ภายใต้แนวคิด “ไกลจากทุคติ”จำนวน 9 ผลงาน มีความหมายว่า
 “ห่างจากความหม่นหมอง ความเศร้า ความโลภ ความโกรธและความหลง”
       

       อาทิ ผลงานชื่อ “ปิติสุข” สร้างสรรค์ขึ้นในปีนี้ พ.ศ.2552 เทคนิคปูนปลาสเตอร์ ขนาดความ สูง 50 ซ.ม. ได้รับแรงบันดาลใจมาจากความรู้สึกที่ได้รับในยามที่ไหว้พระ เมื่อนึกถึง พระพุทธเจ้าทำให้เรารู้สึกเป็นสุข
      
       ผลงานชื่อ “พืชพันธุ์แห่งความเจริญงอกงาม” เทคนิคปูนปลาสเตอร์ ความสูง 15 ซ.ม. สร้างขึ้นเพื่อแสดงถึงความเจริญงอกงาม ของความรู้สึกเป็นสุข
      
       ผลงานชื่อ “ฤดูแห่งความผลิบาน” เทคนิคปูนปลาสเตอร์ทาสีทอง ความสูง 25 ซ.ม. แรงบันดาลใจเกิดจากการที่จิตใจเป็นสุข ยามอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ
      
       ขณะที่ผลงานของ ศ.เดชา เป็นผลงานสื่อผสม ภายใต้แนวคิด “ไกลความจริง” จำนวน 82 ผลงาน
      
       อาทิ ผลงานชื่อ “กรุงเทพ” ศ.เดชาได้บรรยายถึงแนวคิดการสร้างผลงานชิ้นนี้ว่าด้านบนที่เป็นสีเข้มหมายถึงท้องฟ้า มองเหมือนมีดาว มีพลุแตกกระจาย เหมือนการเฉลิมฉลองวันที่เป็นมงคล ส่วนที่เป็นโลหะ หมายถึง วัตถุที่แสดงความเหมายของการเป็นเมือง “กรุงเทพ” ที่มีความเจริญผสมผสานระหว่างวัตถุกับจิตใจ
      
       ผลงานชื่อ “ชีวิตในวงกลม” ที่ได้แรงบันดาลใจมาจากการได้เห็นผู้หญิง 2 คนที่เอาท้องชนกัน จุดประกายความคิดให้สร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้ขึ้นมา เพื่อให้เห็นถึงความความกลมของไข่ และความกลมของชีวิต
      
       ผลงานชื่อ “ไม่มีชื่อ 1” และ ผลงาน “ไม่มีชื่อ 2” ที่แสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวข้องวัตถุกับจิตใจ และความล่องลอยและความเวิ้งว้างในอวกาศที่เป็นอิสระ ตลอดจนผลงานชื่อ “น้ำ” ที่แสดงให้เห็นถึงเส้นสายและลีลาของสายน้ำ

2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ศ. เดชา วราชุน และผลงาน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ ศ. เดชา วราชุน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ ศ. เดชา วราชุน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ ศ. เดชา วราชุน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ ศ.เดชา วราชุน
        ประวัติ 2 ศิลปินแห่งชาติ
      
       อาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน
       

       ประวัติการศึกษา
       

       พ. ศ. 2505 – 2507 วิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร (ปวช.)
      
       พ. ศ. 2508 – 2513 คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       พ. ศ. 2522 – 2523 อบรมเทคนิคการแกะสลักหินอ่อน เมืองคาราคา ประเทศ อิตาลี (Dip I.P.S.I.A.M Carrara)
      
       ประวัติการทำงาน
      
       พ. ศ. 2514 อาจารย์ภาควิชาประติมากรรม คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       พ. ศ. 2538 – 2542 คณะบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์
       มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       พ. ศ. 2526 - ปัจจุบัน นายกสมาคมประติมากรไทย
      
       การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม
      
       - ผลงานประติมากรรมได้รับเลือกให้ขยายเป็นขนาด 4 เมตร เพื่อติดตั้งใน อุทยานเบญจสิริ เนื่องในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา
      
       - เป็นผู้ออกแบบ และทำต้นแบบเหรียญ “พระมหาชนก” ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว
      
       - เป็นผู้ออกแบบ และทำต้นแบบเหรียญ “Agricola” ของ F.A.O. เพื่อถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
      
       - เป็นผู้ออกแบบ และทำต้นแบบเหรียญ “Telefood” ของ F.A.O เพื่อถวายแด่
       พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
      
       รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ
       

       พ. ศ. 2549 ได้รับเลือกเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์(ประติมากรรม)
      
       ........................................................
      
       าสตราจารย์ เดชา วราชุน
       

       ประวัติการศึกษา
       

       ป.ป.ช. โรงเรียเพาะช่าง
      
       ศ.บ.ภาพพิมพ์ (เกียรตินิยมอันดับ 2) คณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       ศม. ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       ปัจจุบัน
      
       ศาสตราจารย์ประจำสาขาทัศนศิลป์
       คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทสโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง
      
       รางวัลและเกียรติคุณ
      
       พ. ศ. 2551 ได้รับเลือกเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพพิมพ์และ สื่อผสม)
      
       พ. ศ. 2542 นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หอศิลปแห่งชาติ
      
       พ. ศ. 2525 ได้รับเลือกเป็นศิลปินชั้นเยี่ยมประเภทภาพพิมพ์จากการแสดง ศิลปกรรมแห่งชาติ
      
       พ. ศ. 2524 ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดศิลปกรรมร่วมสมัยประจำปี 2524 ธนาคารกสิกรไทย
      
       พ. ศ. 2520 การแสดงศิลปะภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 12  ยูโกสลาเวีย
      
       พ. ศ. 2519 การแสดงศิลปะภาพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 4 เยอรมัน

กมล ทัศนาญชลี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กมล ทัศนาญชลี ศิลปินแห่งชาติ ปี 2540 สาขาทัศนศิลป์ (ภาพวัยหนุ่ม)
ศาสตราจารย์กมล ทัศนาญชลี ศิลปินแห่งชาติ ปี 2540 สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรมและสื่อผสม) เกิดเมื่อ 17 มกราคม 2487 ถือเป็นศิลปินดีเด่นในด้านจิตรกรรมและสื่อผสมร่วมสมัยของไทย ได้รับการยกย่องทั้งในและต่างประเทศ ทางด้านศิลปะร่วมสมัยของไทย ผลงานที่เป็นเอกลักษณ์ในแนวทางสากลที่มีพื้นฐานจากศิลปะแบบประเพณีไทยในอดีต
ปัจจุบัน ศ.กมล ทัศนาญชลี สอนหนังสือและสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ในฐานะประธานสภาศิลปกรรมไทยแห่งสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังสนับสนุนและส่งเสริมศิลปินไทยในการศึกษาและหาประสบการณ์ ทั้งนี้ ศ.กมล ทัศนาญชลี ยังเป็นคนไทยและคนเอเชียเพียงหนึ่งเดียว ที่ผลงานศิลปะถูกบันทึกไว้ใน Gardner's Art Through The Ages หรือ หนังสือประวัติศาสตร์ศิลป์โลก ซึ่งเป็นหนังสือรวบรวมผลงานศิลปะทั่วโลก ทั้งก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน โดยทั่วโลกมีศิลปินได้รับการบันทึกเพียง 30,000 คน ส่วนใหญ่จะเป็นชาวยุโรปและอเมริกา

การศึกษา[แก้]

จบการศึกษาจาก วิทยาลัยเพาะช่าง ในปี 2507 และ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กรุงเทพฯ ในปี 2512 จากนั้นจึงไปต่อปริญญาโทด้านศิลปะในประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี 2520 ที่ Otis Art Institute of Los Angeles, California, U.S.A
ชื่อผลงาน หนังใหญ่-อเมริกันอินเดียน ปี 1991

รางวัลผลงานด้านศิลปะ[แก้]

  • 2541: Companion (Fourth Class) of the Most Admirable Order of The Direkgunnabhotn |
  • 2540: National Artist Award (Visual Art) |
  • 2540: Ph.D. (Honorable Painting) Burapha University, Chonburi, Thailand |
  • 2534: Special Grants with Dr. Herbert Phillips from National Endowment for the Humanities, U.S.A., The Integrative Art of Modern Thailand Project |
  • 2529: The Best Top Ten Alumni of Poh-Chang Art College, Bangkok, Thailand |
  • 2523: Annual Artist Award, The Oakland Museum, Oakland, California, U.S.A.

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. กระโดดขึ้น



2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน และ ศ. เดชา วราชุน
        สองเพื่อนร่วมรุ่นมหาวิทยาลัยศิลปากร อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) ปี 2549 และ ศ.เดชา วราชุน ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์(ภาพพิมพ์และสื่อผสม) ปี 2551ร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาส 82 พรรษา ด้วยการจับคู่แสดงผลงานศิลปะ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า และจะมีงานเปิดนิทรรศการในวันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ.2553 เวลา 18.00 น.ที่จะถึงนี้
      
       ผลงานของ อ.นนทิวรรธน์ ที่จะนำมาจัดแสดงเป็นผลงานประติมากรรม ภายใต้แนวคิด “ไกลจากทุคติ”จำนวน 9 ผลงาน มีความหมายว่า
 “ห่างจากความหม่นหมอง ความเศร้า ความโลภ ความโกรธและความหลง”
       

       อาทิ ผลงานชื่อ “ปิติสุข” สร้างสรรค์ขึ้นในปีนี้ พ.ศ.2552 เทคนิคปูนปลาสเตอร์ ขนาดความ สูง 50 ซ.ม. ได้รับแรงบันดาลใจมาจากความรู้สึกที่ได้รับในยามที่ไหว้พระ เมื่อนึกถึง พระพุทธเจ้าทำให้เรารู้สึกเป็นสุข
      
       ผลงานชื่อ “พืชพันธุ์แห่งความเจริญงอกงาม” เทคนิคปูนปลาสเตอร์ ความสูง 15 ซ.ม. สร้างขึ้นเพื่อแสดงถึงความเจริญงอกงาม ของความรู้สึกเป็นสุข
      
       ผลงานชื่อ “ฤดูแห่งความผลิบาน” เทคนิคปูนปลาสเตอร์ทาสีทอง ความสูง 25 ซ.ม. แรงบันดาลใจเกิดจากการที่จิตใจเป็นสุข ยามอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ
      
       ขณะที่ผลงานของ ศ.เดชา เป็นผลงานสื่อผสม ภายใต้แนวคิด “ไกลความจริง” จำนวน 82 ผลงาน
      
       อาทิ ผลงานชื่อ “กรุงเทพ” ศ.เดชาได้บรรยายถึงแนวคิดการสร้างผลงานชิ้นนี้ว่าด้านบนที่เป็นสีเข้มหมายถึงท้องฟ้า มองเหมือนมีดาว มีพลุแตกกระจาย เหมือนการเฉลิมฉลองวันที่เป็นมงคล ส่วนที่เป็นโลหะ หมายถึง วัตถุที่แสดงความเหมายของการเป็นเมือง “กรุงเทพ” ที่มีความเจริญผสมผสานระหว่างวัตถุกับจิตใจ
      
       ผลงานชื่อ “ชีวิตในวงกลม” ที่ได้แรงบันดาลใจมาจากการได้เห็นผู้หญิง 2 คนที่เอาท้องชนกัน จุดประกายความคิดให้สร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้ขึ้นมา เพื่อให้เห็นถึงความความกลมของไข่ และความกลมของชีวิต
      
       ผลงานชื่อ “ไม่มีชื่อ 1” และ ผลงาน “ไม่มีชื่อ 2” ที่แสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวข้องวัตถุกับจิตใจ และความล่องลอยและความเวิ้งว้างในอวกาศที่เป็นอิสระ ตลอดจนผลงานชื่อ “น้ำ” ที่แสดงให้เห็นถึงเส้นสายและลีลาของสายน้ำ

2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ อ.นนทิวรรธน์ จันทะผะลิน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ศ. เดชา วราชุน และผลงาน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ ศ. เดชา วราชุน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ ศ. เดชา วราชุน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ ศ. เดชา วราชุน
       
2 ศิลปินแห่งชาติ จับคู่แสดงผลงานศิลป์ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของ ศ.เดชา วราชุน
        ประวัติ 2 ศิลปินแห่งชาติ
      
       อาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน
       

       ประวัติการศึกษา
       

       พ. ศ. 2505 – 2507 วิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร (ปวช.)
      
       พ. ศ. 2508 – 2513 คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       พ. ศ. 2522 – 2523 อบรมเทคนิคการแกะสลักหินอ่อน เมืองคาราคา ประเทศ อิตาลี (Dip I.P.S.I.A.M Carrara)
      
       ประวัติการทำงาน
      
       พ. ศ. 2514 อาจารย์ภาควิชาประติมากรรม คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       พ. ศ. 2538 – 2542 คณะบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์
       มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       พ. ศ. 2526 - ปัจจุบัน นายกสมาคมประติมากรไทย
      
       การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม
      
       - ผลงานประติมากรรมได้รับเลือกให้ขยายเป็นขนาด 4 เมตร เพื่อติดตั้งใน อุทยานเบญจสิริ เนื่องในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา
      
       - เป็นผู้ออกแบบ และทำต้นแบบเหรียญ “พระมหาชนก” ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว
      
       - เป็นผู้ออกแบบ และทำต้นแบบเหรียญ “Agricola” ของ F.A.O. เพื่อถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
      
       - เป็นผู้ออกแบบ และทำต้นแบบเหรียญ “Telefood” ของ F.A.O เพื่อถวายแด่
       พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
      
       รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ
       

       พ. ศ. 2549 ได้รับเลือกเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์(ประติมากรรม)
      
       ........................................................
      
       าสตราจารย์ เดชา วราชุน
       

       ประวัติการศึกษา
       

       ป.ป.ช. โรงเรียเพาะช่าง
      
       ศ.บ.ภาพพิมพ์ (เกียรตินิยมอันดับ 2) คณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       ศม. ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
      
       ปัจจุบัน
      
       ศาสตราจารย์ประจำสาขาทัศนศิลป์
       คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทสโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง
      
       รางวัลและเกียรติคุณ
      
       พ. ศ. 2551 ได้รับเลือกเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพพิมพ์และ สื่อผสม)
      
       พ. ศ. 2542 นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หอศิลปแห่งชาติ
      
       พ. ศ. 2525 ได้รับเลือกเป็นศิลปินชั้นเยี่ยมประเภทภาพพิมพ์จากการแสดง ศิลปกรรมแห่งชาติ
      
       พ. ศ. 2524 ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดศิลปกรรมร่วมสมัยประจำปี 2524 ธนาคารกสิกรไทย
      
       พ. ศ. 2520 การแสดงศิลปะภาพพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 12  ยูโกสลาเวีย
      
       พ. ศ. 2519 การแสดงศิลปะภาพิมพ์นานาชาติ ครั้งที่ 4 เยอรมัน 

การโคจรของดาวเคราะห์และดาวเทียม
r + h = รัศมีวงโคจร , T = คาบการหมุนของดาว
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
เป็นการเคลื่อนที่ซึ่งมีแรงกระทำในทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของวงกลม จึงเกิดความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง(ตามทิศของแรง)
ถ้าเป็นการเคลื่อนที่แบบวงกลมแนวราบ อาจมีขนาดความคงที่แต่ทิศทางเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยความเร็ว ณ ตำแหน่งใดๆจะมีทิศตามเส้นสัมผัสกับเส้นรอบวงของกลม ณ ตำแหน่งนั้น
สูตรการเคลื่อนที่เป็นวงกลม
1. ความเร็วเชิงเส้น (v) และความเร็วเชิงมุม 
         
v = ความเร็วเชิงเส้น หน่วยเป็น เมตร/วินาที
 
ความเร็วเชิงมุม หน่วยเป็น เรเดียน/วินาที
   
T = คาบการเคลื่อนที่ หน่วยเป็น วินาที
f = จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน วินาที หน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz)
2. ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
    
    
3. แรงสู่ศูนย์กลาง
   
   
ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบวงกลมเช่น รถเลี้ยวโค้งบนถนนราบ
รถเลี้ยวโค้งบนถนนราบ 
 ขณะรถเลี้ยวโค้งบนถนนราบมีแรงกระทำต่อมวลรวม3แรงคือ
                            1. แรงโน้มถ่วง(mg)
                            2. แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง  
                            3. แรงที่พื้นดันขึ้น(N)
 
แรงสู่ศูนย์กลางมาจากแรงเสียดทานสถิตระหว่างล้อกับพื้นถนน ดังนั้น  
     
     
      

การเลี้ยวโค้งบนถนนเอียง
    
   
วัตถุผูกเชือกแล้วแกว่งให้เป็นวงกลม
 การเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวดิ่ง   
  
   การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก
เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณ ของสนามแม่เหล็กจะมีแรงแม่เหล็กกระทำต่อ อนุภาคไฟฟ้านั้นตลอดเวลาทุก ๆ ตำแหน่งที่อนุภาคนั้นเคลื่อนที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก ถ้าสนามแม่เหล็ก มีขนาดสม่ำเสมอ แรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคจะมีค่าคงที่ด้วย
แรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคไฟฟ้าขึ้นอยู่กับจำนวนประจุไฟฟ้า และความเร็วของอนุภาค และความเข้มของสนามแม่เหล็ก ซึ่งเขียนในรูปทางคณิตศาสตร์ของผลคูณเวกเตอร์ของเวกเตอร์สองจำนวนได้ดังนี้
          เนื่องจากแรง ที่เกิดขึ้นนี้กระทำในทิศตั้งฉากกับความเร็ว ตลอดเวลา ดังนั้นถ้าอนุภาคยังคงเคลื่อนที่อยู่ในสนามแม่เหล็กตลอดเวลา ผลก็คือ อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นวงกลม เมื่ออาศัยหลักการเคลื่อนที่ของวงกลมจะสรุปได้ดังนี้
ในกรณีความเร็วตั้งฉากกับทิศทางของสนามแม่เหล็ก