วันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2557

การเคลื่อนที่แบบวงกลม
เป็นการเคลื่อนที่ซึ่งมีแรงกระทำในทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของวงกลม จึงเกิดความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง(ตามทิศของแรง)
ถ้าเป็นการเคลื่อนที่แบบวงกลมแนวราบ อาจมีขนาดความคงที่แต่ทิศทางเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยความเร็ว ณ ตำแหน่งใดๆจะมีทิศตามเส้นสัมผัสกับเส้นรอบวงของกลม ณ ตำแหน่งนั้น
สูตรการเคลื่อนที่เป็นวงกลม
1. ความเร็วเชิงเส้น (v) และความเร็วเชิงมุม 
         
v = ความเร็วเชิงเส้น หน่วยเป็น เมตร/วินาที
 
ความเร็วเชิงมุม หน่วยเป็น เรเดียน/วินาที
   
T = คาบการเคลื่อนที่ หน่วยเป็น วินาที
f = จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน วินาที หน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz)
2. ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
    
    
3. แรงสู่ศูนย์กลาง
   
   
ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบวงกลมเช่น รถเลี้ยวโค้งบนถนนราบ
รถเลี้ยวโค้งบนถนนราบ 
 ขณะรถเลี้ยวโค้งบนถนนราบมีแรงกระทำต่อมวลรวม3แรงคือ
                            1. แรงโน้มถ่วง(mg)
                            2. แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง  
                            3. แรงที่พื้นดันขึ้น(N)
 
แรงสู่ศูนย์กลางมาจากแรงเสียดทานสถิตระหว่างล้อกับพื้นถนน ดังนั้น  
     
     
      

การเลี้ยวโค้งบนถนนเอียง
    
   
วัตถุผูกเชือกแล้วแกว่งให้เป็นวงกลม
 การเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวดิ่ง   
  
   การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก
เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณ ของสนามแม่เหล็กจะมีแรงแม่เหล็กกระทำต่อ อนุภาคไฟฟ้านั้นตลอดเวลาทุก ๆ ตำแหน่งที่อนุภาคนั้นเคลื่อนที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก ถ้าสนามแม่เหล็ก มีขนาดสม่ำเสมอ แรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคจะมีค่าคงที่ด้วย
แรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคไฟฟ้าขึ้นอยู่กับจำนวนประจุไฟฟ้า และความเร็วของอนุภาค และความเข้มของสนามแม่เหล็ก ซึ่งเขียนในรูปทางคณิตศาสตร์ของผลคูณเวกเตอร์ของเวกเตอร์สองจำนวนได้ดังนี้
          เนื่องจากแรง ที่เกิดขึ้นนี้กระทำในทิศตั้งฉากกับความเร็ว ตลอดเวลา ดังนั้นถ้าอนุภาคยังคงเคลื่อนที่อยู่ในสนามแม่เหล็กตลอดเวลา ผลก็คือ อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นวงกลม เมื่ออาศัยหลักการเคลื่อนที่ของวงกลมจะสรุปได้ดังนี้
ในกรณีความเร็วตั้งฉากกับทิศทางของสนามแม่เหล็ก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น